เชิงอรรถ ของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)

หมายเหตุ

ตำบลท่าอิฐในที่นี้ หมายถึงตำบลเมืองท่าค้าขายของเมืองเหนือในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยาต่อต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งปัจจุบันคือแถบ 3 หมู่บ้านโบราณริมน้ำน่านคือ บ้านท่าอิฐ บ้านท่าเสา และบ้านคุ้งตะเภา ในเขตอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ (สมัยนั้นชื่ออำเภอบางโพ) จังหวัดอุตรดิตถ์ (สมัยนั้นชื่อแขวงพิไชย) ในปัจจุบัน[21]

เมืองเหนือในที่นี้หมายถึงคำเรียกของชาวเมืองเหนือในสมัยอยุธยาจนถึงช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งหมายถึงเมืองสุโขทัย พิษณุโลก พิชัย (อุตรดิตถ์ในปัจจุบัน) พิจิตร กำแพงเพชร อันเป็นกลุ่มหัวเมืองเหนือในสมัยอยุธยา หรือบ้านเมืองที่เคยอยู่ในเขตแคว้นของสุโขทัยแต่เดิม [22]

หากถือตามหลักฐานของพระครูกัลยาณานุกูลที่กล่าวว่ามารดาของท่านเป็นคนท่าอิฐ นางเกตุ ที่ขึ้นล่องเรือลงมาทำมาหากินแถบภาคกลางในช่วงหลังตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ย่อมมีความสอดคล้องกับประวัติของเมืองอุตรดิตถ์[23] ที่กล่าวว่าช่วงกรุงศรีแตก แถบอุตรดิตถ์ไม่ได้รับผลกระทบเพราะอยู่นอกทางเดินทัพ ทำให้แถบนี้มีคนแถบเมืองเหนือมาอาศัยหลบภัยมาก จนมีการตั้งชุมนุมพระฝางเป็นเมืองใหญ่ ในช่วงหลังชุมนุมเจ้าพระฝางแตกในปี พ.ศ. 2313[24] เมืองท่าอิฐได้โรยราไปพักหนึ่งจนถึงช่วงต้นรัตนโกสินทร์ เมืองพระฝางซึ่งอยู่เหนือท่าอิฐที่เคยเป็นชุมนุมใหญ่ก็ได้ทรุดโทรมจนหมดความสำคัญลง[25] ทำให้ช่วงหลังครอบครัวมารดาของท่านจึงอพยพย้ายถิ่นมาทำมาหากินทางแถบเมืองใต้ (ภาคกลาง) แต่ช่วงหลัง ตำบลท่าอิฐก็เริ่มมีความเจริญสืบมาจนสมัยรัชกาลที่ 5

อ้างอิง
  1. พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 66-67
  2. คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2554). พระเครื่องเบญจภาคี. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://angsila.cs.buu.ac.th/~it471452/phrathai/page2-5.html
  3. ข่าวพระเครื่องคมชัดลึก. (2554). สุดยอดการเช่าพระแห่งปี ๕๒. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.komchadluek.net/detail/20091229/42948/สุดยอดการเช่าพระแห่งปี๕๒.html
  4. (ม.ป.ป.). พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระหว่างจลาจล จุลศักราช 1129-1130. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.). หน้าที่ 351.
  5. พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. รองปก
  6. จากคำบอกเล่าของชาวบ้าน ต.ท่าหลวง กล่าวว่า สมเด็จโตเกิดในเรือซึ่งขณะนั้นลอยลำอยู่หน้าวัดไก่จ้น
  7. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์” :2466. ไม่ทราบสำนักพิมพ์​สมัยนั้นท่านโตได้แอบชอบท่านผู้หญิงกุลศรีวิมลท่านเป็นตระกุลระดับสูงองค์ที่​2
  8. พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 9-13
  9. ผู้จัดการออนไลน์. (2545). สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี). [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา : http://forum.uamulet.com/view_topic.aspx?bid=2&qid=517
  10. เฮง อิฏฐาจาโร, พระมหา. (2492). ประวัติสังเขปสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กฤษณปกรณ์.
  11. วัดระฆังโฆสิตาราม. (2541). ของดีวัดระฆัง. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท.. หน้า 214. ISBN 974-89521-3-4
  12. ห้องสมุดวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร. (2554). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี). [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.watrakang.com/biography.php
  13. ตรียัมปวาย. (2495). พระสมเด็จ. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.).
  14. ห้องสมุดวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร. (2554). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี). [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.watrakang.com/biography.php
  15. 1 2 3 สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. 428 หน้า. หน้า 84-86. ISBN 974-417-530-3
  16. พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 56
  17. พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 92-93
  18. พระมหาเฮง อิฏฐาจาโร, . (2492). ประวัติสังเขปสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กฤษณปกรณ์. หน้า 152
  19. จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2465). พระราชหัตถเลขา คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ ในรัชกาลที่ 5 นับในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆเปนภาคที่ 5. กรุงเทพ : โรงพิมพ์ไทย. หน้า 3
  20. เฮง อิฏฐาจาโร, พระมหา. (2492). ประวัติสังเขปสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กฤษณปกรณ์. หน้า152-153
  21. เทวประภาส มากคล้าย. (2553). คุ้งตะเภา จากอดีตสู่ปัจจุบัน : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ISBN 9789743648847
  22. __________. (2543). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอุตรดิตถ์. กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. หน้า 104.
  23. วิบูลย์ บูรณารมย์. (2540). ตำนานเมืองอุตรดิษฐ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. อุตรดิตถ์: โรงพิมพ์พี.ออฟเซ็ทอาร์ท.
  24. __________. (ม.ป.ป.). พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระหว่างจลาจล จุลศักราช 1129-1130. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.).
  25. จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2465). พระราชหัตถเลขา คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ ในรัชกาลที่ 5 นับในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆเปนภาคที่ 5. กรุงเทพ : โรงพิมพ์ไทย. หน้า 47

ใกล้เคียง

สมเด็จพระพุฒาจารย์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทฺธสโร) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โสม ฉนฺโน)

แหล่งที่มา

WikiPedia: สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) http://www.9pha.com/?cid=357489 http://www.dharma-gateway.com/monk/monk_biography/... http://vdo.palungjit.com/video/1818/%E0%B8%A0%E0%B... http://forum.uamulet.com/view_topic.aspx?bid=2&qid... http://www.watchaiyo.com/index.php/luangphortho http://www.watrakang.com/biography.php http://www.komchadluek.net/detail/20091229/42948/%... http://www.buddhakhun.org/main//index.php?topic=17... http://www.dhammathai.org/monk/sangha27.php http://www.watindharaviharn.org/buddha.html